มีเฉพาะคนบ้าเท่านั้นที่จะไปพบจิตแพทย์ คำกล่าวนี้อาจจะฝังอยู่ในความคิดของใครหลายคน ซึ่งไม่ใช่ความคิดที่เหมาะสมเลยค่ะ การไปพบจิตแพทย์นั้นเป็นการประเมินสุขภาพจิตใจในเบื้องต้นจากผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งหากเรามีความเครียด หรือรู้สึกไม่สบายใจ วิตกกังวล และสงสัยว่าอาจจะเป็นโรคซึมเศร้า ทั้งตัวเองหรือคนรอบข้าง การได้ไปพบจิตแพทย์อาจช่วยให้เราได้ความคิดดีๆ กลับมา วันนี้ขอรวบรวมรายชื่อโรงพยาบาลไว้ให้สำหรับผู้ที่ต้องการไปปรึกษา หรือต้องการไปพบจิตแพทย์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
รายชื่อโรงพยาบาลที่มีจิตแพทย์ ในเขตกรุงเทพฯ
จิตแพทย์ทั่วไปจะตรวจรักษาผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป หากอายุน้อยกว่า 18 ปี ต้องพบจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น
โรงพยาบาลรัฐบาล ที่มีจิตแพทย์ ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล
- คณะแพทยศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ รังสิต :Med.tu.ac.th
- คณะแพทยศาสตร์ วชิรพยาบาล : vajira.ac.th
- โรงพยาบาลกลาง : klanghospital.go.th
- โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ (รับเฉพาะผู้ป่วยมะเร็งของ รพ.) : chulabhornhospital.com
- โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ แผนกจิตเวช อาคาร ภปร ชั้น 12 โทร. 0-2256-4000, 0-2256-5180, 0-2256-5182 : chulalongkornhospital.go.th
- โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ : ckphosp.go.th
- โรงพยาบาลตากสิน
- โรงพยาบาลตำรวจ : policehospital.org
- โรงพยาบาลทหารผ่านศึก
- โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
- โรงพยาบาลพร้อมมิตร (รพ.บ้านแพ้ว สาขาพร้อมมิตร)
- โรงพยาบาลพระมงกุฎฯ
- โรงพยาบาลภูมิพลอดุยเดช
- โรงพยาบาลมเหสักข์
- โรงพยาบาลราชวิถี
- โรงพยาบาลรามาธิบดี หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกจิตเวชศาสตร์ อาคาร 4 ชั้น 2 โทร 02-201-1235 หรือ 02-201-1726
- โรงพยาบาลเลิดสิน
- โรงพยาบาลศิริราช
- โรงพยาบาลศรีธัญญา คลินิกคลายเศร้า (โรคซึมเศร้า) ทุกวันพุธ เวลา 08.00-12.00 น. โทร 02-528-7800 ต่อ 57164
- โรงพยาบาลสงฆ์
- โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า
- ศูนย์บริการสาธารณสุข 3 บางซื่อ
- ศูนย์บริการสาธารณสุข 4 ดินแดง
- ศูนย์บริการสาธารณสุข 21 วัดธาตุทอง สายด่วนสุขภาพจิต 02-391-2962
- ศูนย์บริการสาธารณสุข 23 สี่พระยา
- ศูนย์บริการสาธารณสุข 24 บางเขน
- ศูนย์บริการสาธารณสุข 33 วัดหงส์รัตนาราม
- สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์ (เดิมชื่อ โรงพยาบาลนิติจิตเวช)
- สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
- สถาบันธัญญารักษ์ (สถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี)
- สถาบันประสาทวิทยา : 02-306-9899
- สถาบันเวชศาสตร์การบิน กองทัพอากาศ
- ไขข้อสงสัย 6 ข้อแตกต่างของการเป็น จิตแพทย์ – นักจิตวิทยา
- กรมสุขภาพจิตแนะนำ 8 อาการ ที่ควรไปพบจิตแพทย์
โรงพยาบาลรัฐบาล ที่มีจิตแพทย์ ปริมณฑล
- โรงพยาบาล นครปฐม
- โรงพยาบาล สมุทรสาคร
- โรงพยาบาลปทุมธานี
- รพ.ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี
- ศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ ชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (รพ.ชลประทาน จ.นนทบุรี)
- รพ.ศรีธัญญา อ.เมือง จ.นนทบุรี
- รพ.ปากเกร็ด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี
- รพ.พระนั่งเกล้า อ.เมือง จ.นนทบุรี
- รพ.นนทเวช อ.เมือง จ.นนทบุรี
- รพ.เกษมราษฎร์ อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี
โรงพยาบาลเอกชน
ที่มีจิตแพทย์ ในกรุงเทพฯและปริมณฑล
- โรงพยาบาลกล้วยน้ำไท
- โรงพยาบาลกรุงเทพ
- โรงพยาบาลกรุงเทพคริสเตียน
- โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ ประชาชื่น
- โรงพยาบาลคามิลเลียน
- โรงพยาบาลเจ้าพระยา
- โรงพยาบาลเซ็นต์หลุยส์
- โรงพยาบาลเซ็นทรัลเยนเนอรัล
- โรงพยาบาลเทพธารินทร์
- โรงพยาบาลไทยนครินทร์
- โรงพยาบาลธนบุรี
- โรงพยาบาลนครธน
- โรงพยาบาลนนทเวช
- โรงพยาบาลนวมินทร์1
- โรงพยาบาลนวมินทร์9
- โรงพยาบาลบางนา1
- โรงพยาบาลบางนา2
- โรงพยาบาลบางโพ
- โรงพยาบาลบางมด
- โรงพยาบาลบางปะกอก9 อินเตอร์เนชั่นแนล
- โรงพยาบาลบีเอ็นเอช
- โรงพยาบาลบีแคร์
- โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์
- โรงพยาบาลประชาพัฒน์ (เดิมชื่อ นวมินทร์2)
- โรงพยาบาลปิยะมินทร์ สมุทรปราการ
- โรงพยาบาลปิยะเวท
- โรงพยาบาลเปาโล โชคชัย4
- โรงพยาบาลเปาโล สมุทรปราการ
- โรงพยาบาลเปาโล สะพานควาย
- โรงพยาบาลพญาไท1
- โรงพยาบาลพญาไท2
- โรงพยาบาลพญาไท3
- โรงพยาบาลพญาไท นวมินทร์
- โรงพยาบาลพระราม9
- โรงพยาบาลพระราม2
- โรงพยาบาลเพชรเวช
- โรงพยาบาลแพทย์รังสิต
- โรงพยาบาลภัทรธนบุรี
- โรงพยาบาลมงกุฎวัฒนะ
- โรงพยาบาลมนารมย์
- โรงพยาบาลเมโย
- โรงพยาบาลรามคำแหง
- โรงพยาบาลราษฎร์บูรณะ
- โรงพยาบาลลาดพร้าว
- โรงพยาบาลวิชัยยุทธ
- โรงพยาบาลวิภาราม (นนทบุรี)
- โรงพยาบาลวิภาวดี
- โรงพยาบาลเวชธานี
- โรงพยาบาลศิครินทร์
- โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์
- โรงพยาบาลศรีวิชัย1
- โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท
- โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์
- โรงพยาบาลสายไหม
- โรงพยาบาลสินแพทย์
- โรงพยาบาลสุขสวัสดิ์ (เดิมชื่อ กรุงธน2)
- โรงพยาบาลหัวเฉียว
- โรงพยาบาล World Medical Center
เบอร์โทรสายด่วน ปรึกษาปัญหาเบื้องต้น
หากยังไม่ต้องการพบหมอ ลองโทรไปที่เบอร์สายด่วนที่สามารถโทรขอคำปรึกษา เพื่อแนะนำการส่งต่อไปยังจิตแพทย์ของกรมสุขภาพจิต และหน่วยงานต่าง ๆ มีดังนี้
สายด่วน 1323
เบอร์นี้สำหรับพูดคุยปรึกษา ผู้ที่ให้คำปรึกษาส่วนใหญ่เป็นนักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ พยาบาลวิชาชีพ
Depress we care โรงพยาบาลตำรวจ
สายด่วน 081-932-0000
สมาคมสะมาริตันส์แห่งประเทศไทย
โทร. 02-713-6793 ทุกวัน ตั้งแต่เวลา 12.00-22.00 น.
เมื่อปรึกษาสายด่วนแล้ว หากมีความเสี่ยงเป็นโรคซึมเศร้าเจ้าหน้าที่จะแนะนำโรงพยาบาลตามสิทธิรักษาพยาบาลใกล้บ้านหรือที่สะดวก เพื่อให้เข้าดำเนินการต่อต่อรักษาโรคต่อไป
ขอบคุณข้อมูลจาก: คลินิกสุขภาพจิตนายแพทย์เจษฎา , news.MThai.com