เตือนเฝ้าระวังโควิด XBB.1.16

แพทย์ มข. เตือนเฝ้าระวังโควิด XBB.1.16 แนะกลุ่มเสี่ยงฉีดวัคซีน Bivalent

แพทย์ มข. เตือนเฝ้าระวังโควิด XBB.1.16 เป็นสายพันธุ์ย่อยของโอมิครอน เบื้องต้นพบว่า ติดเชื้อง่ายขึ้น แต่ความรุนแรงไม่ได้เพิ่มขึ้นจากสายพันธุ์เดิม
การตรวจน้ำลายหาเชื้อโควิด-19 ให้ผลเชื่อถือได้แค่ไหน

การตรวจน้ำลายหาเชื้อโควิด-19 ให้ผลเชื่อถือได้แค่ไหน ?

การตรวจน้ำลายหาเชื้อโควิด-19 - งดสูบบุหรี่ งดเคี้ยวหมากฝรั่ง และแนะนำให้บ้วนปากด้วยน้ำสะอาดก่อนเก็บตัวอย่างอย่างน้อย 30 นาที เพื่อให้ได้น้ำลาย
ข่าวสารเกี่ยวกับโควิด19

คู่มือ ข่าวสารเกี่ยวกับโควิด19 – การดูแล การป้องกันตัวเอง

สาระความรู้ ข่าวสารเกี่ยวกับโควิด19 แบบสั้นๆ ภาพประกอบน่ารัก อ่านง่ายๆ จากไลน์ หมอพร้อม และ "สสส" อาการไม่พึงประสงค์ อาการแพ้ จากวัคซีนโควิด19
ฉีดซิโนแวค ครบ 2 เข็ม

แพทย์ มข. ฟันธง ผู้รับซิโนแวค 2 เข็ม ควรบูสต์เข็ม 3 ด้วย ไวรัสเวคเตอร์ หรือ mRNA

แพทย์ มข. ฟันธง ฉีดซิโนแวค ครบ 2 เข็ม แนะนำให้ผู้ที่รับซิโนแวคครบ 2 เข็ม ควรได้รับการกระตุ้นทีเซลล์ด้วยวัคซีนชนิดอื่น ที่ไม่ใช่รูปแบบเชื้อตาย
วิธีดูแลตัวเอง ช่วงโควิด

วิธีดูแลตัวเอง ช่วงโควิด – ถ้าต้องอยู่ร่วมกับผู้ป่วย COVID-19 ในบ้าน

ดูแลตัวเองอย่างไร วิธีดูแลตัวเอง ช่วงโควิด การเริ่มต้นดูแลป้องกันตัวเองให้แข็งแรงอยู่เสมอ ป้องกันตนเองโดยการใส่แมสก์ตลอดเวลา
วิธีลดความกลัว ลดแพนิก ในช่วงโควิด-19

3 วิธีลดความกลัว ลดแพนิก ในช่วงโควิด-19 (การทําจิตบําบัดแบบ CBT)

เมื่อเรารู้สึกกลัวหรือกังวล ร่างกายของจะหลั่งฮอร์โมนที่ทําให้เข้าสู่สภาวะ เตรียมพร้อมเผชิญเหตุอันตราย - 3 วิธีลดความกลัว ลดแพนิก
คู่มือ วัคซีนสู้โควิด

คู่มือ วัคซีนสู้โควิด (ฉบับประชาชน) – ข้อมูลความรู้จาก สสส

คู่มือ วัคซีนสู้โควิด รู้จักวัคซีนโควิด วัคซีนมีกี่ชนิด วัคซีนทำงานอย่างไร วัคซีนต่างชนิดมีประสิทธิภาพและความปลอดภัยต่างกันหรือไม่ ฉีดวัคซีนแล้ว ยังมีโอกาสติดเชือและแพร่เชื้อ
ไขคำตอบ ข้อสงสัย วัคซีน-โควิด19 ฉีดหรือไม่ฉีดดี ?

ไขคำตอบ ข้อสงสัย วัคซีน-โควิด19 ฉีดดี หรือ ไม่ฉีดดี ?

วัคซีน-โควิด19 ฉีดหรือไม่ฉีดดี สามารถป้องกันการติดเชื้อได้มากเพียงใด ได้รับวัคซีนครบโดสแล้ว ไม่จำเป็นต้องใส่หน้ากาก ? ทุกคนควรได้รับวัคซีน?
ผลกระทบ ผู้ป่วยโรคทางระบบประสาท กับ โควิด-19

โควิด-19 กับผลกระทบใน ผู้ป่วยโรคทางระบบประสาท – Covid19

ผลกระทบ ผู้ป่วยโรคทางระบบประสาท กับ โควิด-19 อาการดังกล่าวส่วนใหญ่ เป็นอาการที่ไม่ได้จำเพาะเจาะจงกับเชื้อไวรัสชนิดนี้ บางครั้งอาการที่เป็นอาจเป็นจากสาเหตุอื่น
คำแนะนำ วิธีดูแลตัวเองผู้ป่วยโรคไต ในช่วง COVID-19

คำแนะนำ วิธีดูแลตัวเองผู้ป่วยโรคไต ในช่วง COVID-19

พญ.ผ่องพรรณ ทานาค อายุรแพทย์โรคไตโรงพยาบาลพระรามเก้า ให้คำแนะนำ วิธีดูแลตัวเองผู้ป่วยโรคไต ในช่วง COVID-19 การรับประทานเนื้อสัตว์ได้วันละเท่าไร ดื่มน้ำวันละเท่าไร ผัก ผลไม้ชนิดใดที่ควรรับประทานหรือไม่ควรรับประทาน
COVID-19 เชื่อมโยงกับระบบประสาท จริงหรือ ?

COVID-19 เชื่อมโยงกับระบบประสาท จริงหรือ ?

COVID-19 เชื่อมโยงกับระบบประสาท งานวิจัยดังกล่าวพบว่า อาการทางระบบประสาทในผู้ป่วย COVID-19 มีได้ตั้งแต่อาการเพียงเล็กน้อย เช่น มึนศีรษะ ปวดศีรษะ การรับรสหรือรับกลิ่นลดลง
วิธีรับมือ COVID-19 ของผู้ป่วยมะเร็ง

ผู้ป่วยมะเร็งมีวิธีรับมือ COVID-19 อย่างไรบ้าง มีคำแนะนำมาฝาก

วิธีรับมือ COVID-19 ของผู้ป่วยมะเร็ง ผู้ป่วยมะเร็งควรรู้เกี่ยวกับการดูแลตัวเองในช่วง COVID-19 นี้ โดยผู้ป่วยมะเร็งที่อยู่ในระหว่างการรักษา