COVID19 วัคซีน โควิด19

คู่มือ ข่าวสารเกี่ยวกับโควิด19 – การดูแล การป้องกันตัวเอง

Home / สุขภาพทั่วไป / คู่มือ ข่าวสารเกี่ยวกับโควิด19 – การดูแล การป้องกันตัวเอง

เข้าสู่ปีที่ 2 ของการระบาดโรค Covid19 นี้ รวบรวมสาระความรู้ ข่าวสารเกี่ยวกับโควิด19 แบบสั้นๆ ภาพประกอบ อ่านง่ายๆ จากไลน์ “หมอพร้อม” และ “สสส”

ข่าวสารเกี่ยวกับโควิด19 – Covid-19

การดูแล การป้องกันตัวเอง

Update : คู่มือ+การแยกกักตัวที่บ้าน+(Home+Isolation)

เนื้อหาข่าวสารการฉีดวัคซีน และข้อสงสัยต่างๆ จาก Line “หมอพร้อม

โรคเลือดออกง่าย

คนเป็นโรคเลือดออกง่าย กินยาละลายลิ่มเลือด ฉีดวัคซีนโควิดได้ แต่กดตำแหน่งที่ฉีดประมาณ 5 นาที และประคบเย็น

โรคเลือดออกง่าย - ข่าวสารเกี่ยวกับโควิด19

ผู้ป่วยโรคแพ้ภูมิตัวเอง

ผู้ป่วยโรคแพ้ภูมิตัวเอง ที่อาการโรคสงบ ควรได้รับวัคซีนโควิด ทั้งนี้ วัคซีนไม่ทำให้โรคกำเริบ และไม่จำเป็นต้องหยุดยาก่อนฉีดวัคซีน

ผู้ป่วยโรคแพ้ภูมิตัวเอง

ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง

ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง ควรฉีดวัคซีนโควิด เพราะมีภูมิคุ้มกันต่ำ หากติดเชื่อเสี่ยงป่วยรุนแรง

ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง ควรฉีดวัคซีนโควิด เพราะมีภูมิคุ้มกันต่ำ หากติดเชื่อเสี่ยงป่วยรุนแรง

ผู้ป่วย HIV

ผู้ป่วยเอชไอวี ฉีดวัคซีนโควิดได้ เว้นแต่มีโรคแทรกซ้อน ควรรักษาให้อาการคงที่ก่อน

ผู้ป่วยเอชไอวี ฉีดวัคซีนโควิดได้ เว้นแต่มีโรคแทรกซ้อน ควรรักษาให้อาการคงที่ก่อน

ผู้ป่วยธาลัสซีเมีย

ผู้ป่วยธาลัสซีเมีย ฉีดวัคซีนโควิดได้ โดยไม่ต้องงดยา กินยาประจำได้ตามปกติ

ผู้ป่วยธาลัสซีเมีย - ฉีดวัคซีนโควิดได้ โดยไม่ต้องงดยา กินยาประจำได้ตามปกติ

ผู้หญิงที่มีประจำเดือนกับการฉีดวัคซีน

ผู้มีประจำเดือน สามารถฉีดวัคซีนได้

ผู้มีประจำเดือน สามารถฉีดวัคซีนได้

วางแผนมีลูก ฉีดวัคซีนได้ไหม

คนวางแผนมีลูก ฉีดวัคซีนโควิดได้ เพราะวัคซีนไม่มีผลต่อการตั้งท้อง

คนวางแผนมีลูก ฉีดวัคซีนโควิดได้ เพราะวัคซีนไม่มีผลต่อการตั้งท้อง

โควิดกับไข้หวัดใหญ่

ระวัง ติดโควิดร่วมกับไข้หวัดใหญ่ เสี่ยงป่วยรุนแรงมากขึ้น ถ้าเป็นไปได้ควรฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ด้วย โดยเว้นห่างจากวัคซีนโควิด 2 สัปดาห์

ระวัง ติดโควิด ร่วมกับไข้หวัดใหญ่ เสี่ยงป่วยรุนแรงมากขึ้น ถ้าเป็นไปได้ควรฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ด้วย โดยเว้นห่างจากวัคซีนโควิด 2 สัปดาห์

แม่ติดโควิดให้นมลูก ทำได้ไหม

แม่ที่ติดโควิด หรือสงสัยว่าติดเชื้อ ให้ลูกกินนมแม่ได้ แต่ต้องสวมหน้ากากล้างมือทุกครั้งก่อนให้นม

แม่ติดโควิดให้นมลูก ทำได้ไหม

หญิงให้นมบุตร ฉีดวัคซีนได้ไหม

กรณีหญิงให้นมบุตร ฉีดวัคซีนโควิดได้ ให้นมลูกได้ตามปกติ

หญิงให้นมบุตร ฉีดวัคซีนได้ไหม

คนแพ้อาหาร

คนแพ้อาหาร สามารถฉีดวัคซีนโควิดได้

คู่มือ ข่าวสารเกี่ยวกับโควิด19 การดูแล การป้องกันตัวเอง

ลิ่มเลือดอุดตัน

ลิ่มเลือดอุดตันหลังฉีดวัคซีนโควิด-19 โอกาสเกิดขึ้นน้อยจริงหรือไม่ ? อ่านเพิ่มเติมจาก Facebook : socialmarketingth

ลิ่มเลือดอุดตัน

5 อาการควรระวัง

อาการที่อาจเกิดจากมีลิ่มเลือดอุดตัน หลังฉีดวัคซีนโควิด ที่ควรรีบพบแพทย์

1.ปวดหัวรุนแรงและต่อเนื่อง
2.มีอาการทางประสาทเฉพาะที่ เช่น ตามัว เห็นภาพซ้อน
3. หายใจไม่เต็มอิ่ม เจ็บหน้าอก ปวดหลังและปวดท้องรุนแรง คลื่นไส้อาเจียนต่อเนื่อง
4.มีเลือดออกผิดปกติ เช่น มีจ้ำเลือดตามตัว มีตุ่มน้ำที่มีเลือดออกภายใน
5.แขน ขา บวมปวด

โควิดสายพันธุ์ต่างๆ

โควิดสายพันธุ์ต่างๆ

ฉีดวัคซีนเข็มแรก แล้วติดเชื้อโควิด

ถ้าติดเชือโควิด หลังฉีดวัคซีนเข็มแรก รักษาให้หายก่อน ค่อยฉีดเข็ม 2 หลังจากติดเชื้ออย่างน้อย 3 เดือน

ใครที่ควรรับวัคซีนเป็นอันดับต้นๆ

ประชาชนควรฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงต่อไปนี้ เพื่อป้องกันการป่วยรุนแรง จากการติดเชื้อร่วมกับโควิด
– ผู้หญิงอายุครรภ์ 4 เดือนขึ้นไป
– เด็กอายุ 6 เดือนถึง 2 ปี
– คนอายุ 65 ปีขึ้นไป
– ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้แก่ เบาหวาน ปอดอุดกั้นเรื้อรัง หอบหืด หัวใจ หลอดเลือดสมอง ไตวาย มะเร็งที่กำลังให้เคมีบำบัด
– ผู้พิการทางสมอง ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้
– ผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมีย ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
– คนมีน้ำหนักตัว ตั้งแต่ 100 กก. หรือ BMI ตั้งแต่ 35kg/m2

ข่าวสารเกี่ยวกับโควิด19

อ่านเพิ่มเติมได้ที่ >> Line User

อาการไม่พึงประสงค์ กับ อาการแพ้ จากวัคซีนโควิด19 เป็นอย่างไร

อาการไม่พึงประสงค์ กับ อาการแพ้ จากวัคซีนโควิด19 เป็นอย่างไร

บทความแนะนำ